การสกัดน้ำมันหอมระเหย ( Essential Oil Extraction )

นำ้มันหอมระเหยมีอยู่ในพืชที่ให้กลิ่นหอมมากมายหลายชนิด และพืชแต่ละชนิดก็ให้กลิ่นหอมที่แตกต่างกันออกไป รวมทั้ง น้ำมันหอมระเหยที่สะสมอยู่ในพืชแต่ละชนิดนั้น ก็อยู่ในส่วนประกอบของพืชที่แตกต่างกันออกไป  ดังนั้น ก่อนทีจะเริ่มสกัด เราควรจะต้องศึกษาหรือรู้จักพืชชนิดนั้นก่อนว่า น้ำมันหอมระเหย ที่มีอยู่ในพืชชนิดนั้น อยู่ที่ส่วนใดของพืช และพืชแต่ละชนิด มีนำ้มันมากหรือน้อยเพียงใด

ตัวอย่างส่วนของพืชที่มีน้ำมันหอมระเหย

ส่วนของพืชที่มีน้ำมันหอมระเหยชื่อนำ้มันหอมระเหย
รากกระชาย   แฝกหอม ( Vetiver )
ลำต้น เปลือกไม้ เนื้อไม้อบเชย ( Cinnamon ) สน ( Pine )   จันทร์หอม ( Sandal Wood )  กฤษณา ( Agar Wood )
ใบทีทรี ( Tea Tree )   ยูคาลิปตัส ( Eucalyptus )
ดอกกุหลาบ ( Rose )  มะลิ (Jasmine)  ดอกส้ม (Neroli)  ดอกกระดังงา (Cananga)  กานพลู (Clove)
ผลเลมอน (Lemon)  มะนาว ( Lime )  ส้ม ( Orange )
 เมล็ดยี่หร่า  ( Fennel )  พริกไทดำ ( Black Pepper )
เรซิ่นกำยานโอมาน (Frankincense) กำยานไทย (Benzoin) มดยอบ (Myrrh)  โคพาอิบา (Copaiba)

 

เทคนิคการสกัดนำ้มันหอมระเหย 

  1.  Cold Press  การสกัดเย้น
  2.  Distillation  การกลั่น     
      2.1  Steam Distillation
      2.2  Water Distillation
  3.  Solvent Extraction  การสกัดด้วยสารละลาย
      3.1 สารละลายที่ระเหยได้
          3.1..1  Hydrocarbon Solvent
          3.1.2  Absolute Alcohol
      3.2 สารละลายที่ระเหยไม่ได้
          3.2.1  Marceration
          3.2.2  Enflurage 
      3.3 สารละลายที่เป็นก๊าซ เช่น CO2  , HFC ( Hydrofluorocarbon ) 
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้